วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่ 27 กันยายน พ.ศ.2556


เรียนครั้งที่ 16

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 27  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 16 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

กิจกรรม

อาจารย์โบว์ให้นักศึกษาทำ mind mab ping 

            บรรยากาศในห้องเรียนวันสุดท้าย 




          ผลงานของ นางสาวรัตติยากร ปักโกทะสัง

วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2556


เรียนครั้งที่ 15

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 20  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 15 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


ครูโบว์เปิดวีดีโอให้ชม

จากนั้นแบ่งกลุ่มทำกิจกรรม หน่วยการเรียนรู้
กลุ่มดิฉันทำหน่วยการเรียนรู้ “อวัยวะในร่างกาย”






รายงายวันนี้เรียนร้อยค่ะ ^_^

วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556

วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556


เรียนครั้งที่ 14

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 13  กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 14 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

กิจกรรม

วันนี้มีการเรียนเรื่องการจัดมุม และมีตัวอย่างให้นักศึกษาดู จาก youtube ที่อาจารย์เปิดให้ดูในห้องเรียน

อาจารย์ให้คิดมุมในจินตนาการของแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 5 - 6 คน    

กลุ่มดิฉันนำเสนอ  "มุม fruity หรรษา"




วันศุกร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 13

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 13 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

กิจกรรม วันนี้เรียนบารยาย

การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

-สภาพแวดล้อมให้เด็กได้คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายขององค์รวม
-เด็กได้ทำกิจกรรมที่สงเสริมทัดษะทางภาษาโดยใช้เนื้อหาทางภาษา

หลักการและความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อม 

-สอดคล้องกับวิชาการเรียนรู้ของเด็ก สงเสริมให้เด็กสำรวจ ปฏิบัติจริงเป็นผู้กระทำด้วยคนเองโดยเปิดอิสระให้เด็ก
-สิ่งแวดล้อมที่สงเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารสองทาง
-สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆโดยคำนึงถุงความหมายที่เด็ฏต้องการสื่อสารมากกว่าความถูกต้องทางไวทยากรณ์
-สิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้สนวาจาและไม่ใช่วาจาเด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิบัติหลายๆรูปแบบ

มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

. มุมหนังสือ
.มุมบทบาทสมมติ
.มุมศิลปะ
.มุมดนตรี
ฯลฯ

ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนที่สงเสริมทักษะทางภาษา

-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
-เด็กรู้สึกผ่อนคลาย
-บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียนเช่นดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
-เด็กมีส่วนในการวางแผนออกแบบ

 มุมหนังสือ

- มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสม
- มีบรรยากาศที่สงบอบอุ่น
- มีพื้นที่ในการอ่านกหนังสือลำพังและเป็นกลุ่ม
- มีอุปกรณ์สำหรับเขียน

มุมบทบาทสมมติ

- มีอุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กดข้าไปเล่นได้
- มีพื้นที่เพียงพอ

มุมศิลปะ

- มีวัสดุอุปกรณ์หลากหลายเช่น ดินสอ สี ยางลบ ตรายาง ฯลฯ
- อกรรไกรไว้สำหรับงานตัดและปะติด
- มีพื้นที่เด็กได้จัดกิจกรรม

มุมดนตรี

- มีเครื่องดนตรีทั้งเป็นของเล่นและของจริง เช่นกลอง ฉิ่ง ระนาด ฯลฯ
- สื่อจริง
- สื่อจำลอง
- ภาพถ่าย
- ภาพโครงร่าง
- สัญลักษณ์

วันศุกร์ ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2556

เรียนครั้งที่ 12

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 30  สิงหาคม พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 12 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


กิจกรรม 

ต้วมต้วม เตี้ยมเตี้ยม ออกมาจากไข่ เจ้าหนอนตัวใหญ่ลูกใครกันหนอ
กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป
กระดึ๊บ ดึ๊บไป บนใบไม้อ่อน กัดกัด กินกิน อิ่มแล้วก็นอน แล้วเจ้าหนอน ก็ชักใยหุ้มตัว
กระดึ๊บ กระดึ๊บ กระดึ๊บ ดึ๊บ ดึ๊บ

จากนั้นก็ให้จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ คน ให้ช่วยกันคิดเพื่อทำสื่อการศึกษา 
 








วันศุกร์ ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556

เรียนครั้งที่ 11
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 23  สิงหาคม พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 11 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.

ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ความหมาย

        วัสดุอุปกรณ์หรือวิวัฒนาการณ์ เพื่อกระตุ้นส่งเสริม จูงใจ ให้เด็กสนใจ ด้วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือที่ครูกำหนดเพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเนื้อหา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ เจตคติ

ความสำคัญของสื่อ

-เด็กเรียนรู้การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5

-เข้าใจง่าย

-เป็นรูปธรรม

-จำได้ง่าย และ เร็ว

ประเถทของสื่อ

1 สื่อสิ่งพิมพ์
คือใช้วิธีการพิมพ์ เด้กได้เรียนรู้ อักษร  ประโยชน์เช่น นิทาน หนังสือพิมพ์ ฯลฯ

สื่อวัสดุอุปกรณ์
คือ ของวัสดุต่างๆ ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผนภูมิ ตารางสถิติ กราฟ สมุดภาพ ฯลฯ

สื่อโสตทัศนูปกรณ์
คือสื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น ไอแพด ฯลฯ

สื่อกิจกรรม
คือวิธีการที่ใช้การฝึกปฏิบัติ ทักษะ ใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติการเผชิญสถานการณ์

5 สื่อบริบท
คือสื่อส่งเสริมดารจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน บุคคล ชุมชน วัฒนธรรม

กิจกรรม  

ต่อด้วยการประดิษฐ์สื่อภาพตั้งโต๊ะ

สื่อนี้สามารถนำไปใช้กับการสอนเกี่ยวกับ ภาษา และภาพได้


วันที่ 16 สิงหาคม 2556

เรียนครั้งที่ 10

วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย

อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์    โอบอ้อม

วันศุกร์ ที่ 16  สิงหาคม พ.ศ. 2556  

 ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.


กิจกรรม

กลุ่ม 1   หุ่นนิ้วมือ
ข้อดี  
   - สามารถนำมาร้องเพลงได้     

   - สามรถนำมาเล่านิทานได้
ข้อเสีย               -

กลุ่ม 2   ภาพชัก
ข้อดี   
 - สามารถนำมาเป็นสื่อสอนเรื่องประเทศต่างๆในอาเซียน 
           
  - สามรถนำมาเล่านิทานเกี่ยวกับปนะเทศในอาเซียนได้

ข้อเสีย   -

- การเจะรูร้อยเอ็นควรประมาณให้ดีเพราะบางครั้งมันจะบังรูปเราได้

  - การมัดเอ็นหย่อนเกินไปทำให้หลุดได้

กลุ่ม 3   ป๊อปอัพอาเซีย
ข้อดี    
 สามารถนำมาเล่านิทานได้            

ข้อเสีย        -

 - ปัยหาการพับปากถ้าพับไม่ดีมันจะขาด

กลุ่ม 4   จับคู่ภาพ
ข้อดี   
  - นำไปใช้พัฒนาการด้สนภาษาเช่น ภาษากับธงชาติ
  - เรียนรู้เรื่องสีต่างๆ
          
ข้อเสีย            -



                                                                                                                      ผลงานของเรา