วันอาทิตย์ที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 22 กันยายน พ.ศ. 2556
วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่ 14
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม
วันศุกร์ ที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 14 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
กิจกรรม
วันนี้มีการเรียนเรื่องการจัดมุม และมีตัวอย่างให้นักศึกษาดู จาก youtube ที่อาจารย์เปิดให้ดูในห้องเรียน
อาจารย์ให้คิดมุมในจินตนาการของแต่ละกลุ่ม โดยแบ่งเป็นกลุ่มละ 5 - 6 คน
กลุ่มดิฉันนำเสนอ "มุม fruity หรรษา"
วันศุกร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่ 13
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม
วันศุกร์ ที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 13 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
กิจกรรม วันนี้เรียนบารยาย
การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อสร้างประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
-สภาพแวดล้อมให้เด็กได้คุ้นเคยกับการใช้ภาษาอย่างมีความหมายขององค์รวม
-เด็กได้ทำกิจกรรมที่สงเสริมทัดษะทางภาษาโดยใช้เนื้อหาทางภาษา
หลักการและความสำคัญของการจัดสภาพแวดล้อม
-สอดคล้องกับวิชาการเรียนรู้ของเด็ก สงเสริมให้เด็กสำรวจ ปฏิบัติจริงเป็นผู้กระทำด้วยคนเองโดยเปิดอิสระให้เด็ก
-สิ่งแวดล้อมที่สงเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบุคคลรอบข้าง เด็กควรได้สื่อสารสองทาง
-สิ่งแวดล้อมที่เน้นความหมายมากกว่ารูปแบบควรยอมรับการสื่อสารของเด็กในรูปแบบต่างๆโดยคำนึงถุงความหมายที่เด็ฏต้องการสื่อสารมากกว่าความถูกต้องทางไวทยากรณ์
-สิ่งแวดล้อมที่ประกอบด้วยความหลากหลายทั้งด้สนวาจาและไม่ใช่วาจาเด็กควรได้รับการมีประสบการณ์และปฏิบัติหลายๆรูปแบบ
มุมประสบการณ์ที่สนับสนุนการเรียนรู้และสาระทักษะทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
. มุมหนังสือ
.มุมบทบาทสมมติ
.มุมศิลปะ
.มุมดนตรี
ฯลฯ
ลักษณะของการจัดมุมในชั้นเรียนที่สงเสริมทักษะทางภาษา
-มีพื้นที่ให้เด็กสามารถทำกิจกรรมได้
-เด็กรู้สึกผ่อนคลาย
-บริเวณใกล้ๆมีอุปกรณ์เครื่องเขียนเช่นดินสอ สี กระดาษ กรรไกร กาว
-เด็กมีส่วนในการวางแผนออกแบบ
มุมหนังสือ
- มีชั้นวางหนังสือประเภทต่างๆที่เหมาะสม
- มีบรรยากาศที่สงบอบอุ่น
- มีพื้นที่ในการอ่านกหนังสือลำพังและเป็นกลุ่ม
- มีอุปกรณ์สำหรับเขียน
มุมบทบาทสมมติ
- มีอุปกรณ์ที่สามารถให้เด็กดข้าไปเล่นได้
- มีพื้นที่เพียงพอ
มุมศิลปะ
- มีวัสดุอุปกรณ์หลากหลายเช่น ดินสอ สี ยางลบ ตรายาง ฯลฯ
- อกรรไกรไว้สำหรับงานตัดและปะติด
- มีพื้นที่เด็กได้จัดกิจกรรม
มุมดนตรี
- มีเครื่องดนตรีทั้งเป็นของเล่นและของจริง เช่นกลอง ฉิ่ง ระนาด ฯลฯ
- สื่อจริง
- สื่อจำลอง
- ภาพถ่าย
- ภาพโครงร่าง
- สัญลักษณ์
วันศุกร์ ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ.2556
เรียนครั้งที่ 12
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม
วันศุกร์ ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 12 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
กิจกรรม
ต้วมต้วม เตี้ยมเตี้ยม ออกมาจากไข่ เจ้าหนอนตัวใหญ่ลูกใครกันหนอ
กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป กระดึ๊บ กระดึ๊บไป
กระดึ๊บ ดึ๊บไป บนใบไม้อ่อน กัดกัด กินกิน อิ่มแล้วก็นอน แล้วเจ้าหนอน ก็ชักใยหุ้มตัว
กระดึ๊บ กระดึ๊บ กระดึ๊บ ดึ๊บ ดึ๊บ
จากนั้นก็ให้จับกลุ่ม กลุ่มล่ะ 5 คน ให้ช่วยกันคิดเพื่อทำสื่อการศึกษา
วันศุกร์ ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556
เรียนครั้งที่ 11
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม
วันศุกร์ ที่ 23 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 11 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
ความหมาย
วัสดุอุปกรณ์หรือวิวัฒนาการณ์ เพื่อกระตุ้นส่งเสริม จูงใจ ให้เด็กสนใจ ด้วยเพิ่มประสิทธิภาพทางการเรียนรู้
เป็นเครื่องมือที่ครูกำหนดเพื่อถ่ายทอดแลกเปลี่ยนเนื้อหา ประสบการณ์ แนวคิด ทักษะ เจตคติ
ความสำคัญของสื่อ
-เด็กเรียนรู้การใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
-เข้าใจง่าย
-เป็นรูปธรรม
-จำได้ง่าย และ เร็ว
ประเถทของสื่อ
1 สื่อสิ่งพิมพ์
คือใช้วิธีการพิมพ์ เด้กได้เรียนรู้ อักษร ประโยชน์เช่น นิทาน หนังสือพิมพ์ ฯลฯ
2 สื่อวัสดุอุปกรณ์
คือ ของวัสดุต่างๆ ของจริง หุ่นจำลอง แผนที่ แผนภูมิ ตารางสถิติ กราฟ สมุดภาพ ฯลฯ
3 สื่อโสตทัศนูปกรณ์
คือสื่อที่นำเสนอด้วยเครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ คอมพิวเตอร์ เครื่องเล่นแผ่น ไอแพด ฯลฯ
4 สื่อกิจกรรม
คือวิธีการที่ใช้การฝึกปฏิบัติ ทักษะ ใช้กระบวนการคิด การปฏิบัติการเผชิญสถานการณ์
5 สื่อบริบท
คือสื่อส่งเสริมดารจัดประสบการณ์ สภาพแวดล้อม ห้องเรียน บุคคล ชุมชน วัฒนธรรม
กิจกรรม
ต่อด้วยการประดิษฐ์สื่อภาพตั้งโต๊ะ
สื่อนี้สามารถนำไปใช้กับการสอนเกี่ยวกับ ภาษา และภาพได้
วันที่ 16 สิงหาคม 2556
เรียนครั้งที่ 10
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
อาจารย์ผู้สอน จุฑาทิพย์ โอบอ้อม
วันศุกร์ ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 10 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
กิจกรรม
กลุ่ม 1 หุ่นนิ้วมือ
ข้อดี
- สามารถนำมาร้องเพลงได้
- สามรถนำมาเล่านิทานได้
ข้อเสีย -
กลุ่ม 2 ภาพชัก
ข้อดี
- สามารถนำมาเป็นสื่อสอนเรื่องประเทศต่างๆในอาเซียน
- สามรถนำมาเล่านิทานเกี่ยวกับปนะเทศในอาเซียนได้
ข้อเสีย -
- การเจะรูร้อยเอ็นควรประมาณให้ดีเพราะบางครั้งมันจะบังรูปเราได้
- การมัดเอ็นหย่อนเกินไปทำให้หลุดได้
กลุ่ม 3 ป๊อปอัพอาเซียน
ข้อดี
- สามารถนำมาเล่านิทานได้
ข้อเสีย -
- ปัยหาการพับปากถ้าพับไม่ดีมันจะขาด
กลุ่ม 4 จับคู่ภาพ
ข้อดี
- นำไปใช้พัฒนาการด้สนภาษาเช่น ภาษากับธงชาติ
- เรียนรู้เรื่องสีต่างๆ
ข้อเสีย -
ผลงานของเรา
วันพฤหัสบดีที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันศุกร์ ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 9
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ ที่ 9 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 9 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เพลงผลไม้
วันพุธที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันศุกร์ ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 8
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ ที่ 2 สิงหาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 8 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
สัปดาห์สอบปลายภาค
วันศุกร์ ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 7
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพฤหัสบดีที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันพุธที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 6
วิชาการจัดประสบการณ์ทางภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
วันศุกร์ ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 6 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
เพลงกล่อมเด็ก 4 ภาค
...........................................................
วันศุกร์ ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5
วันศุกร์ ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
ครั้งที่ 5 เวลาเรียน 13.10-16.40 น.
นำเสนองานกลุ่มต่อจากสัปดาห์ที่แล้ว และ การจัดประสบการณ์ทางภาษาทักษะการใช้ภาษา
กลุ่มที่ 4 พัฒนาการสติปํญญาของเด็กอายุ2-4 ปี
กลุ่มที่ 5 พัฒนาการสติปัญญาของเด็กอายุ4-6ปี
พัฒนาการทางสติปัญญา 4- 6 ปี กลุ่มของดิฉัน
โดยมี น.ส.นันทพร สีคำ อยู่ซ้ายมือ ถัดมา น.ส.เสาวณีย์ ชอบชื่น ถัดมา น.ส.จิรพร ไทยอัฐวิถี ถัดมา น.ส.พิชชาภา สุพะกะ เป็นผู้นำเสนอ และดิฉัน น.ส.รัตติยากร ปักโกทะสัง เป็นผู้เปิดสื่อ ในการนำเสนอครั้งนี้
การจัดประสบการณ์ทางภาษาทักษะการใช้ภาษา
1 บอกสิ่งของที่รักและเหตุผล
เป็นการให้เหตุผลเเบบอุปนัยเนื่องจากการให้เหตุผลแบบอุปนัยเป็นการสรุปผลเกิดจากหลักฐานข้อเท็จจริงที่มีอยู่ ดังนั้นการหาข้อสรุปหรือความจริงโดยใช้วิธีการให้เหตุผลแบบอุปนัยนั้น ไม่จำเป็นต้องถูกต้องทุกครั้ง ข้อสรุปจะเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล หลักฐานและข้อเท็จจริงที่นำมาอ้างซึ่งได้แก่ จำนวนข้อมูล และ ข้อมูล
2 การโฆษณาสินค้า
การโฆษณา มีความจำเป็นต้องใช้ภาษาที่ดึงดูดความสนใจของคนอ่านคนฟัง นักโฆษณาจึงมักคิดค้นถ้อยคำ สำนวนภาษาแปลก ๆ ใหม่ ๆ นำมาโฆษณาอยู่เสมอ เพื่อเรียกร้องความสนใจจากคนซื้อ ในขณะเดียวกันการโฆษณาต้องใช้ภาษาที่ง่าย ๆ กะทัดรัด ได้ใจความชัดเจนดี น่าสนใจ ให้ทันเหตุการณ์ รวดเร็ว มีเสียงสัมผัสคล้องจอง จดจำได้ง่ายด้วย จึงมีถ้อยคำเกิดใหม่ ๆ อยู่เสมอ
1. เรียกร้องความสนใจคือเลือกใช้ภาษาที่ง่าย สุภาพ กระตุ้นความรู้สึกของลูกค้า
2. ให้ความกระจ่างแก่ลูกค้าเป็นการใช้ภาษาที่ง่ายชัดเจนในการกล่าวถึงคุณภาพของสินค้าหรือบริการ
3. ให้ความมั่นใจ เป็นการอ้างอิงข้อมูลต่าง ๆ เพื่อให้ลูกค้าเกิดความมั่นใจ
4. ยั่วยุให้เกิดการตัดสินใจ เป็นการใช้ถ้อยคำให้ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อสินค้าหรือบริการโดยเร็วที่สุด
3การประชาสัมพันธ์
หมายถึง การสื่อสารความคิดเห็นข่าวสารข้อเท็จจริงต่างๆไปสู่กลุ่มประชาชน เป็นการเสริมสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงานองค์การสถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมายและประชาชนที่เกี่ยวข้องเพื่อหวังผลในความร่วมมือ สนับสนุนจากประชาชนรวมทั้งมีส่วนช่วยเสริมสร้างภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทำให้ประชาชนเกิดความนิยมเลื่อมใสศรัทธาต่อหน่วยงานตลอดจนค้นหาและกำจัดแหล่งเข้าใจผิดช่วยลบล้างปัญหาเพื่อสร้างความสำเร็จในการดำเนินงานของหน่วยงานนั้น
4 การเล่าข่าว
1. การใช้ภาษาพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์
1.1 การใช้คำตัดสั้นหรือกร่อนคำ ด้วยข้อจำกัดในเรื่องพื้นที่ คือความกว้างยาวของคอลัมน์ข่าว ทำให้การใช้คำพาดหัวข่าวหนังสือพิมพ์ต้องตัดให้สั้นหรือย่นย่อลงเพื่อกระชับคำให้พิมพ์ลงในเนื้อที่ที่จำกัดได้ เช่น หนุน ใช้แทน สนับสนุน ยัน ใช้แทน ยืนยัน มะกัน ใช้แทน สหรัฐอเมริกา เป็นต้น
1.2 การละประธานของประโยค การพาดหัวข่าวนิยมเขียนประโยคที่ขึ้นต้นด้วยคำกริยา เพื่อบอกผู้อ่านว่าเกิดอะไรขึ้น ละประธานของประโยคในฐานะที่เข้าใจได้ โดยเฉพาะเมื่อความสำคัญของเรื่องที่เป็นข่าวไม่ได้อยู่ที่ประธานของประโยค เพื่อให้ผู้อ่านอ่านรายละเอียด
ในความนำหรือเนื้อเรื่องของข่าวต่อไป
1.3 การละเว้นคำเชื่อม คำสันธาน หรือส่วนที่ขยายประโยค นอกจากการละประธาน
ของประโยคแล้ว พาดหัวข่าวมักจะใช้ประโยคเดี่ยวมากกว่าประโยคซ้อน การใช้ภาษาจึงหลีกเลี่ยงคำเชื่อม และส่วนขยายประโยคที่ไม่จำเป็น เช่น คำว่า “อีกทั้ง” “ซึ่ง” “กับ” “ต่อ” เป็นต้น แต่ทั้งนี้ส่วนที่ละไว้ต้องไม่ทำให้ประโยคเหล่านี้มีความหมายผิดเพี้ยนไป
1.4 การใช้คำสแลง คำเฉพาะสมัย หรือคำที่สร้างภาพลักษณ์เกินจริง พาดหัวข่าวต้องดึงดูดความสนใจคนอ่านร่วมสมัย ดังนั้นภาษาที่ใช้จึงเป็นคำที่อยู่ในกระแสความนิยม มีสีสัน
เกินจริง คำสแลง หรือภาษาเฉพาะสมัยในรูปแบบต่าง ๆ ที่เป็นภาษาสนทนา หรือคำแสดงภาพพจน์ รวมทั้งสร้างคำใหม่ ๆ ขึ้นมาใช้ เช่น วัยจ๊าบ ซึ่งหมายถึงวัยรุ่น สาวอยากอึ๋ม ซึ่งหมายถึงผู้หญิง ที่ต้องการมีหน้าอกใหญ่ขึ้น วืด หรือ ชวด ซึ่งหมายถึงพลาดเป้าหมายหรือไม่ได้ในสิ่งที่คาดหวังไว้ เป็นต้น
1.5 การใช้ฉายาหรือชื่อเล่นของบุคคล เป็นส่วนหนึ่งของการสร้างสีสันให้พาดหัวข่าว
เพื่อดึงดูดความสนใจคนอ่าน ชื่อเล่นของบุคคลหรือฉายาที่ตั้งให้ใหม่นั้นมักสั้นกว่าชื่อจริง ทำให้พาดหัวข่าวกระชับและสั้นลง สามารถพิมพ์ลงในคอลัมน์ที่มีความกว้างยาวจำกัดได้ แต่ทั้งนี้
มักเป็นชื่อเรียกหรือฉายาที่เป็นที่รู้จักกันโดยทั่วไปเพื่อไม่ให้ผู้อ่านสับสน
5.การเล่าจากภาพ
เป็นการถ่ายทอดความคิดในการออกแบบจากสิ่งที่เป็นนามธรรม ให้ผู้อื่นได้เข้าใจแนวคิดในการออกแบบนั้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)